การสร้าง WebSite ประกอบด้วยอะไรบ้าง
การมีตัวตนของธุรกิจบนโลก Online กำลังได้รับความนิยมอย่างสูงในโลกปัจจุบัญนั้นก็คือการมีWebSiteเป็นของตนเองนั้นเอง แต่ก็มีคำถามอยู่หลายคำถามที่ชวนงง? ชวนสงสัย เช่นว่า การจะทำ WebSite หรืออยากมี WebSite ของตนเองนั้นต้องเริ่มยังไง และแต่ละขั้นตอนต้องทำยังไงบ้าง ซึ่งมั่นใจว่าผู้ประกอบธุรกิจส่วนใหญ่ต่างก็ต้องการทราบข้อมูลคร่าวๆบ้างว่ามันมีลำดับขั้นตอนการทำยังไง ไม่ใช้ให้จ่ายเงินอย่างเดียว จบ แต่ไม่รู้อะไรเลย พนังงานขายก็ไม่เคยอธิบายให้ทราบ ปัญหาเหล่านี้จึงเป็นที่มาของบทความนี้ ซึ่งต้องการอธิบายให้ทราบถึงขั้นตอนการทำ WebSite พื้นฐาน ใน 1 Website ต้องประกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆคือ
1.Program ที่ใช้เขียน WebSite
ที่ได้รับความนิยมในท้องตลาดมีดังนี้
1.1 Notepad/Editplus เป็นโปรแกรม Text Editorสร้าง Web อย่างง่ายๆโดยสามารถเขียนเป็นภาษา
HTML CSS, PHP, ASP, Perl, C/C++, Java เป็นต้น ซึ่ง Website สำเร็จรูปส่วนใหญ่ก็มักถูก
เขียนด้วย Notepad/Editplus เช่นกัน
1.2 CMS script(Content Management System) เป็นระบบเว็บสำเร็จรูป ที่เราแค่ติดตั้งระบบด้วยการ
คลิกไม่กี่คลิก ก็เสร็จแล้ว จากนั้นก็ใส่เนื้อหาที่เราต้องการลงไปได้เลย ระบบเว็บแบบ CMS นี้ ที่ดังๆ
ในบ้านเรา คนนิยมใช้เยอะ เช่น Wordpress, Joomla, Php-Nuke, Mambo, Xoops, Drupal เป็นต้น
สรุป แนวทางการเขียน WebSite นั้นสามารถเขียนได้หลายภาษา ใชได้หลายโปรแกรมแล้วแต่ความชำนาญและความสะดวกของ Programmer เอง แต่บ่อยครั้งที่มีคนถามว่าควรใช้โปรแกรมไหนเขียน Web แล้วออกมา "ดีที่สุด" แต่คำว่า"ดีที่สุด"ในที่นี้คืออะไร? ใช้งานง่ายหรือ ทำออกมาได้สวยงามหรือ คนนิยมและกล่าวชื่อถึงมากหรือ ฯลฯ แต่สำหรับผมแล้วตามความเข้าใจส่วนตัวและที่พบเห็นมา ว่า ไม่มีโปรแกรมไหนที่สร้างWebได้ดีที่สุด สมบููููรณ์ที่สุด แต่มันขึ้นอยู่ที่ความเหมาะสมและการใช้งาน กับงานทำ Web นั้นๆมากกว่า
2.ตั้งชื่อให้กับ WebSite
หรือการจด Domain Name นั้นเอง Domain Name เปรียบเหมือนการมีเลขที่บ้านให้กับWebของเรา ถ้ามีแต่Web แต่ไม่มีชื่อDomine ก็เหมือนบ้านไม่มีเลขที่บ้าน ไปรษณีย์ก็มาส่งจดหมายไม่ถูก (การจดDomain ช่วยให้คนรู้จักชื่อWebของเรา ถ้าไม่มี Domain คนก็ไม่รู้จะเข้ามาเจอWebเราได้ยังไง) Domain Name ส่วนใหญ่สามารถหาซื้อหรือจดได้ตาม WebSite ที่รับจดซึ่งมีอยู่ทั่วไป ราคาก็ไม่สูงนัก และในปัจจุบัญการจด Domain ยังสามารถจดได้ในชื่อภาษาท้องถิ่นได้อีกด้วยอย่างในบ้านเราก็เริ่มมีการจดเป็นDomain ภาษาไทยกันแล้ว
Remark ( คนส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าถ้าเอาชื่อ product ของธุรกิจตนเองมาจดเป็นชื่อ Domainภาษาไทย จะทำให้ WebSiteของตนถูกพบเห็นและขึ้นไปอยู่ในอันดับต้นๆ หน้าแรกๆของ search engine ชื่อดังอย่าง Google ได้ แต่ในความเป็นจริงต้องใช้คำว่า"มีโอกาศ"มากกว่า เพราะบางชื่อจดแล้วก็ไม่ขึ้นมีถมไป ดังนั้นการขึ้นไม่ขึ้นจึงอยู่ที่หลายปัจจัย จะคิดเอาเองว่าจดDomain ภาษาไทยแล้วขึ้นแน่นอนคงไม่ได้)
เมื่อได้ชื่อแล้วก็ต้องหา ดอท (.) ลงตามหลังDomainให้ได้ซึ่งดอทนั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกันแยกออกได้ดังนี้
.com เป็นนามสกุลที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากสั้นและจำได้ง่าย นามสกุล .com นี้เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจ หรือ WebSiteทุกประเภท แต่ชื่อที่จะสามารถจดทะเบียนได้นั้นมีน้อยมากแล้ว เพราะชื่อดีๆส่วนใหญ่ถูกจดทะเบียนหมดแล้ว
.net แสดงถึง Webที่เกี่ยวกับระบบเครือข่าย Internet
.org เป็นนามสกุลDomain ที่เหมาะสำหรับองค์กรทุกประเภทที่ไม่มุ่งหวังผลกำไร เช่น หน่วยงานราชการ มูลนิธิ เป็นต้น
.biz เป็นนามสกุลDomainที่จะมาแทนที่ .com เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจ หรือ WebSiteทุกประเภท กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในต่างประเทศ
.info เป็นนามสกุลที่เหมาะสำหรับองค์กร หรือ WebSiteที่ให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร ทุกประเภท
.th ในส่วนของนามสกุล .th นี้จะเป็นการบอกว่า WebSiteที่จดทะเบียนDomainภายใต้ .th นี้เป็นองค์กรที่อยู่ภายในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยDomain
.in.th เหมาะสำหรับ WebSite ของบุคคลทั่วไป หรือหน่วยงานในประเทสไทย
.co.th เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลภายในประเทสไทย
.ac.th เหมาะสำหรับWebSiteที่เป็นสถาบันการศึกษาของประเทศไทย
.go.th เหมาะสำหรับองค์กร หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทย
.or.th นามสกุลนี้จะเหมือนกับ .go.th แต่ต่างกันตรงที่บอกว่าเป็นองค์กร หรือหน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไรในประเทศไทย
.mi.th เหมาะสำหรับหน่วยงานทหารในประเทสไทย
3.หาที่อยู่ให้กับ WebSite
นั้นก็คือการหาเช่า Hosting นั้นเองหากDomain Name เปรียบเหมือนเลขที่บ้านให้กับWebของเรา
การเช่าHosting ก็เหมือนการจัดเตรียมที่ดินให้กับบ้าน ถ้ามีแต่ตัวบ้าน แต่ไม่มีที่ดิน บ้านก็คงไม่สามารถตั้งอยู่ได้ ไม่มีบ้านหลังไหน ลอยอยู่กลางอากาศได้ WebSite ก็เช่นกัน ถ้าไม่เอาWebของเราขึ้นไปเก็บไว้บนHosting ก็เหมือนกับWebเราไม่มีที่ตั้งถาวรที่แน่นอน คนก็ไม่สามารถเข้ามาเจอเว็บเราได้เช่นกัน ดังนั้น การจดDomain และการเช่าHosting จึงถือเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้Websiteของเรามีตัวตนอยู่จริงๆ ปกติราคาค่าเช่าHosting มักคิดเป็นรายปีเหมือนกับการต่ออายุชื่อของ Domain ก็เช่นกัน
เมื่อเราได้ครบทั้งสามส่วนก็สามารถมี WebSiteเป็นของตนเองได้ครบสมบูรณ์ แต่ในปัจจุบันการมีWebSiteไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปเพราะมีหลายบริษัทที่ให้บริการเกี่ยวกับการทำWebSite สำเร็จรูปภายใต้งบประมาณที่ไม่แพงมากเหมาะสมกับขนาดธุรกิจของเรา ( เช่นบริการทำWebSiteกับ Thailand Yellowpages)
แต่ถ้าหากอยากได้WebSiteที่แปลกไม่ซ้ำใครและมีFunction ทันสมัยครบถ้วนเหมาะกับประเภทของธุรกิจเฉพาะทาง ก็สามารถติดต่อหาจ้างได้ตามสื่อต่างๆได้ทั่วไป แต่ก่อนจ้างอยากขอให้ดูชื่อที่จดเป็นบริษัท ผลงานที่เขาเคยทำ เพราะการจ้างลักษะแบบนี้ (make to order)เป็นการทำWebSiteแบบเฉพาะ คือแล้วแต่ตกลง แต่ละจ้าวคิดราคาถูกแพงไม่เท่ากัน จึงอยากให้ดูความน่าเชื่อถือและตรงต่อความต้องการของเรา เป็นหลักสำคัญอย่าเอาแต่ราคาถูกเพียงอย่างเดียว
By Pasit.Ap : http://www.facebook.com/Pasit.CRM
แหล่งที่มา http://goo.gl/lkd3h
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/315712?
1.Program ที่ใช้เขียน WebSite
ที่ได้รับความนิยมในท้องตลาดมีดังนี้
1.1 Notepad/Editplus เป็นโปรแกรม Text Editorสร้าง Web อย่างง่ายๆโดยสามารถเขียนเป็นภาษา
HTML CSS, PHP, ASP, Perl, C/C++, Java เป็นต้น ซึ่ง Website สำเร็จรูปส่วนใหญ่ก็มักถูก
เขียนด้วย Notepad/Editplus เช่นกัน
1.2 CMS script(Content Management System) เป็นระบบเว็บสำเร็จรูป ที่เราแค่ติดตั้งระบบด้วยการ
คลิกไม่กี่คลิก ก็เสร็จแล้ว จากนั้นก็ใส่เนื้อหาที่เราต้องการลงไปได้เลย ระบบเว็บแบบ CMS นี้ ที่ดังๆ
ในบ้านเรา คนนิยมใช้เยอะ เช่น Wordpress, Joomla, Php-Nuke, Mambo, Xoops, Drupal เป็นต้น
สรุป แนวทางการเขียน WebSite นั้นสามารถเขียนได้หลายภาษา ใชได้หลายโปรแกรมแล้วแต่ความชำนาญและความสะดวกของ Programmer เอง แต่บ่อยครั้งที่มีคนถามว่าควรใช้โปรแกรมไหนเขียน Web แล้วออกมา "ดีที่สุด" แต่คำว่า"ดีที่สุด"ในที่นี้คืออะไร? ใช้งานง่ายหรือ ทำออกมาได้สวยงามหรือ คนนิยมและกล่าวชื่อถึงมากหรือ ฯลฯ แต่สำหรับผมแล้วตามความเข้าใจส่วนตัวและที่พบเห็นมา ว่า ไม่มีโปรแกรมไหนที่สร้างWebได้ดีที่สุด สมบููููรณ์ที่สุด แต่มันขึ้นอยู่ที่ความเหมาะสมและการใช้งาน กับงานทำ Web นั้นๆมากกว่า
2.ตั้งชื่อให้กับ WebSite
หรือการจด Domain Name นั้นเอง Domain Name เปรียบเหมือนการมีเลขที่บ้านให้กับWebของเรา ถ้ามีแต่Web แต่ไม่มีชื่อDomine ก็เหมือนบ้านไม่มีเลขที่บ้าน ไปรษณีย์ก็มาส่งจดหมายไม่ถูก (การจดDomain ช่วยให้คนรู้จักชื่อWebของเรา ถ้าไม่มี Domain คนก็ไม่รู้จะเข้ามาเจอWebเราได้ยังไง) Domain Name ส่วนใหญ่สามารถหาซื้อหรือจดได้ตาม WebSite ที่รับจดซึ่งมีอยู่ทั่วไป ราคาก็ไม่สูงนัก และในปัจจุบัญการจด Domain ยังสามารถจดได้ในชื่อภาษาท้องถิ่นได้อีกด้วยอย่างในบ้านเราก็เริ่มมีการจดเป็นDomain ภาษาไทยกันแล้ว
Remark ( คนส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าถ้าเอาชื่อ product ของธุรกิจตนเองมาจดเป็นชื่อ Domainภาษาไทย จะทำให้ WebSiteของตนถูกพบเห็นและขึ้นไปอยู่ในอันดับต้นๆ หน้าแรกๆของ search engine ชื่อดังอย่าง Google ได้ แต่ในความเป็นจริงต้องใช้คำว่า"มีโอกาศ"มากกว่า เพราะบางชื่อจดแล้วก็ไม่ขึ้นมีถมไป ดังนั้นการขึ้นไม่ขึ้นจึงอยู่ที่หลายปัจจัย จะคิดเอาเองว่าจดDomain ภาษาไทยแล้วขึ้นแน่นอนคงไม่ได้)
เมื่อได้ชื่อแล้วก็ต้องหา ดอท (.) ลงตามหลังDomainให้ได้ซึ่งดอทนั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกันแยกออกได้ดังนี้
.com เป็นนามสกุลที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากสั้นและจำได้ง่าย นามสกุล .com นี้เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจ หรือ WebSiteทุกประเภท แต่ชื่อที่จะสามารถจดทะเบียนได้นั้นมีน้อยมากแล้ว เพราะชื่อดีๆส่วนใหญ่ถูกจดทะเบียนหมดแล้ว
.net แสดงถึง Webที่เกี่ยวกับระบบเครือข่าย Internet
.org เป็นนามสกุลDomain ที่เหมาะสำหรับองค์กรทุกประเภทที่ไม่มุ่งหวังผลกำไร เช่น หน่วยงานราชการ มูลนิธิ เป็นต้น
.biz เป็นนามสกุลDomainที่จะมาแทนที่ .com เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจ หรือ WebSiteทุกประเภท กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในต่างประเทศ
.info เป็นนามสกุลที่เหมาะสำหรับองค์กร หรือ WebSiteที่ให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร ทุกประเภท
.th ในส่วนของนามสกุล .th นี้จะเป็นการบอกว่า WebSiteที่จดทะเบียนDomainภายใต้ .th นี้เป็นองค์กรที่อยู่ภายในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยDomain
.in.th เหมาะสำหรับ WebSite ของบุคคลทั่วไป หรือหน่วยงานในประเทสไทย
.co.th เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลภายในประเทสไทย
.ac.th เหมาะสำหรับWebSiteที่เป็นสถาบันการศึกษาของประเทศไทย
.go.th เหมาะสำหรับองค์กร หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทย
.or.th นามสกุลนี้จะเหมือนกับ .go.th แต่ต่างกันตรงที่บอกว่าเป็นองค์กร หรือหน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไรในประเทศไทย
.mi.th เหมาะสำหรับหน่วยงานทหารในประเทสไทย
3.หาที่อยู่ให้กับ WebSite
นั้นก็คือการหาเช่า Hosting นั้นเองหากDomain Name เปรียบเหมือนเลขที่บ้านให้กับWebของเรา
การเช่าHosting ก็เหมือนการจัดเตรียมที่ดินให้กับบ้าน ถ้ามีแต่ตัวบ้าน แต่ไม่มีที่ดิน บ้านก็คงไม่สามารถตั้งอยู่ได้ ไม่มีบ้านหลังไหน ลอยอยู่กลางอากาศได้ WebSite ก็เช่นกัน ถ้าไม่เอาWebของเราขึ้นไปเก็บไว้บนHosting ก็เหมือนกับWebเราไม่มีที่ตั้งถาวรที่แน่นอน คนก็ไม่สามารถเข้ามาเจอเว็บเราได้เช่นกัน ดังนั้น การจดDomain และการเช่าHosting จึงถือเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้Websiteของเรามีตัวตนอยู่จริงๆ ปกติราคาค่าเช่าHosting มักคิดเป็นรายปีเหมือนกับการต่ออายุชื่อของ Domain ก็เช่นกัน
เมื่อเราได้ครบทั้งสามส่วนก็สามารถมี WebSiteเป็นของตนเองได้ครบสมบูรณ์ แต่ในปัจจุบันการมีWebSiteไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปเพราะมีหลายบริษัทที่ให้บริการเกี่ยวกับการทำWebSite สำเร็จรูปภายใต้งบประมาณที่ไม่แพงมากเหมาะสมกับขนาดธุรกิจของเรา ( เช่นบริการทำWebSiteกับ Thailand Yellowpages)
แต่ถ้าหากอยากได้WebSiteที่แปลกไม่ซ้ำใครและมีFunction ทันสมัยครบถ้วนเหมาะกับประเภทของธุรกิจเฉพาะทาง ก็สามารถติดต่อหาจ้างได้ตามสื่อต่างๆได้ทั่วไป แต่ก่อนจ้างอยากขอให้ดูชื่อที่จดเป็นบริษัท ผลงานที่เขาเคยทำ เพราะการจ้างลักษะแบบนี้ (make to order)เป็นการทำWebSiteแบบเฉพาะ คือแล้วแต่ตกลง แต่ละจ้าวคิดราคาถูกแพงไม่เท่ากัน จึงอยากให้ดูความน่าเชื่อถือและตรงต่อความต้องการของเรา เป็นหลักสำคัญอย่าเอาแต่ราคาถูกเพียงอย่างเดียว
By Pasit.Ap : http://www.facebook.com/Pasit.CRM
แหล่งที่มา http://goo.gl/lkd3h
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/315712?